วันศุกร์ที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่7



                                                                บันทึกอนุทิน
                                   วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                              อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี   26 กรกฏาคม  2556      ครั้งที่  7
 เวลาเข้าสอน  08.10น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.



วันนี้อาจารย์ให้วาดรูปตามใจชอบ แล้วบรรยายรูปของตัวเองกับเพื่อนๆทั้งหมดในห้องให้เป็นเรื่องต่อๆกัน
  


                             



       





                  ภาพนี่ชื่่อว่า บ้านของน้องกะปี๊คกะลี๊ค  
ดิฉันจำภาพทั้ง4ภาพที่เชื่อมต่อกันข้างบนได้ แค่นิดหน่อยคะจำไม่ได้หมดจะขอเล่า นิดนึ่งแล้วกันนะคะ

  ภาพหมู  พูดว่า วันนี้เราจะชวนเพื่อนแกะและเราไปเที่ยวร้อยเอ็ดกันจะไปเล่นกับน้องหมากะปี๊คกะลี๊ค

  ภาพบ้าน พูดว่า แล้วแกะกับหมูก็มาพักที่บ้านของน้องกะปี๊คกะลี๊คที่หลากหลายสี

  ภาพหมา  พูดว่า  น้องกะปี๊คกะลี๊คก็ยุ่ในบ้าน วิ่งเล่นยุในบ้านกับเพื่อนๆ

  ภาพฟองน้ำ  พูดว่า น้องกะปี๊คกะลี๊คก็คบเจ้าฟองน้ำเป็นเพื่อนด้วย เพราะเพื่อนอีกคนที่ชื่อโตโต้กะบักหล่าไปเที่ยวฮ่องกง 

ประมาณนี่ละคะภูมิใจมากที่ชื่อสุนัขของตัวเองมีส่วนรวมในการเล่านิทาน หรือ บรรยายเรื่อง ตลอดชอบมากคะ


ความรู้ที่ได้วันนี้คือ 

การประเมิน
1   ใช้เครื่องมือในการประเมินที่หลากหลาย
2   เน้นที่ความก้าวหน้าของเด็ก เช่น  การบันทึกสิ่งที่เด็กทำได้
3   ประเมินจากบริบทที่หลากหลาย
4   ให้เด็กได้มีโอกาสประเมินตนเอง
5   ครูให้ความสนใจทั้งกระบวนการและผลงาน
6   ประเมินเด็กเป็นรายบุคคล

วันพุธที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่6



                                           บันทึกอนุทิน
                                   วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                              อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี   12 กรกฏาคม  2556      ครั้งที่  6
 เวลาเข้าสอน  08.10น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.


                         เปรียบเทียบภาษาและรูปภาพ     

                  





                                    



                                   




วันนี้เรียนเกี่ยวกับ  ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
การสอนภาษาธรรมชาติ

คือ การสอนแบบบูรณาการ สอนในสิ่งที่เด็กสนใจ  สอนสิ่งใกล้ตัว  สอดแทรกการฝึกทักษะ   การฟัง พูด อ่าน เขียน    เป็นต้น

หลักการของการสอนภาษาแบบธรรมชาติ

1  การจัดสภาพแวดล้อม

2 การสื่อสารที่มีความหมาย

3 การเป็นแบบอย่าง

4 การตั้งความคาดหวัง

6 การใช้ข้อมูลย้อนหลัง

7 การยอมรับนับถือ

8 การสร้างความรู้สึกเชื่อมั่น


































บันทึกอนุิทินครั้งที่3

       

                                                                    บันทึกอนุทิน
                                   วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                              อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี   28 มิถุนายน  2556      ครั้งที่  3


                     กิจกรรมรับน้องเอกการศึกษาปฐมวัย

                              


                                        พี่ปี2 พากันเต้นโชว์ให้น้องดู

                             

                                        น้องปี 1 ออกมาเต้นคนที่เป็น VIP 




                                    แต่งหน้า ทำผมให้น้อง


                               


                              แต่งหน้าเสร็จพาน้องเข้าฐานที่เตรียมไว้

                              


                                 

                                       สภาพน้องหลังจากเข้าฐาน   

                               





                               



                ปฐมวัยมาแล้วมาแล้วปฐมวัยน้องพี่ 
                ไหนๆๆๆ ปฐมวัยน้องพี่ 
               โลหิตสายเดียวกลมเกลียวกันไว้นาน
                อย่าให้แยกแตกกันเป็นสายธาร  
                อย่าให้แยกจากกันเป็นสายธารา





















วันอาทิตย์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่5

                                             บันทึกอนุทิน
                                   วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                              อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี   12 กรกฏาคม  2556      ครั้งที่  5
          เวลาเข้าสอน  08.14น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.

     องค์ประกอบ ของภาษา
    1 phonology คือ ระบบเสียงของภาษา 
เสียงที่มนุษย์เปล่งออกมาเพื่อสื่อความหมาย 
 หน่วยเสียงจะประกอบขึ้นเป็นคำในภาษา
   2 semantic คือ ความหมายของภาษาและคำศัพท์  
คำศัพท์บางคำสามารถมีได้หลายความหมาย
  ความหมายเหมือนกันแต่ใช่คำศัพท์ต่างกัน 
  3 syntax คือ ระบบไวยากรณ์
การเรียงรูปประโยค  เช่นครูตีเด็๋ก  เด็กถูกครูตี
4 pragmatic คือ ระบบการนำไปใช้
ใช้ภาษาให้ถูกต้องตามสถานการณ์และกาลเทศะ

แนวคิดของนักการศึกษา

 กลุ่มพฤติกรรมนิยม
1 skinner  
-สิ่งแวดล้อมมีอิธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา
-ให้ความสำคัญกับสิ่งเร้าและการตอบสนอง
2 John B watson
-ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
-การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเด็ก เป็นสิ่งที่สามารถทำได้และผู้ใหญ่สามารถที่จะวางเงื่อนไขของเด็ก
นักพฤติกรรมเชื่อว่า
-ภาษาเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์
-การเรียนภาษาเป็นผลจากการปรับตัวโดยสิ่งแวดล้อม
-เด็กเกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
-เด็กจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรม เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบข้าง
-เมื่อได้รับแรงเสริมจะทำให้เด็กกล้าแสดงออกและทำในสิ่งนั้นได้ดี

กลุ่มทางสติปัญญา
1 piaget
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

-ภาษาเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นว่าการสื่อสารต้องอาศัยภาษา
2 vygotsky
-สังคม บุคคลรอบข้าง มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
-เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
-ควรชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก
-เด็กเรียนรู้จากการมีปฎิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม

กลุ่มทางพัฒนาการ
-เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษา
-ความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
-เด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางร่างกายในการใช่ภาษาได้เร็ว

กลุ่มที่เชื่อว่าภาษาติดตัวมาตั้งแต่เกิด
1 Noam chomsky
-มนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษามาตั้งแต่เกิด เรียกว่า LAD(Languang Acquisition Device)
-การเรียนรู้ภาษาอยู่กับวุฒิภาวะ
2 O Hobart mowrer
-คิดค้นทฤษฎีความพึ่งพอใจ
-ความสามารถในการฟังและความเพลิดเพลินจากการได้ยินเสียง
แนวทางในการจัดประสบการณ์ทางภาษา
-เป็นสิ่งที่สะท้อนปรัญญาและความเชื่อของครูเกี่ยวกับการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
-นำไปสู่การกำหนดกระบวนการที่ใช้อย่างแตกต่างกัน

 Richard and podger แบ่งภาษาในการจัดประสบการณ์เป็น3กลุ่ม
1 มุมมองด้านโครงสร้างของภาษา
-นำองค์ประกอบย่อยของภาษามาใช้ในการสื่อความหมาย
-เสียง  ไวยากรณ์  การประกอบ
2 มุมมองด้านหน้าที่ของภาษา
-เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือสำหรับสื่อความหมาย
-การจัดประสบการณ์เน้นการสื่อความหมาย
-ไม่ได้ละทิ้งแบบแผนหรือไวยากรณ์
3 มุมมองด้านปฎิสัมพันธ์
-เชื่อว่าภาษาเป็นเครื่องมือในการสร้างความสัมพันธ์ทางสังคม
-การแลกเปลี่ยนประสบการณ์
-เด็กมีปฎิสัมพันธ์ผ่านการใช้ภาษา





สิ่งที่รักที่สุด ในตอนเด็ก คือ สุนัข ตัวนี้ ชื่อโตโต้กะบักหล่า
เพราะมันน่ารักและรักมันมาก แต่ตอนนี้มันไม่อยู่แล้ว มันไปเที่ยวฮ่องกงแล้วค่ะ แต่ก็คิดถึงมันมาก


วันพฤหัสบดีที่ 11 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่4

                                                                 บันทึกอนุทิน
                                   วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                              อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี   5 กรกฏาคม  2556      ครั้งที่  4
          เวลาเข้าสอน  08.20 น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.

นำเสนอ power point เกี่ยวกับ ทฤษฎีทางพัฒนาการภาษาของเด็กปฐมวัย





บันทึกอนุทินครั้งที่2

                                                              บันทึกอนุทิน
                                   วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  21 มิถุนายน  2556      ครั้งที่  2
          เวลาเข้าสอน  08.10 น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.
 รับรู้ถึง    ความหมายภาษา คือการสื่่่อสาร เป็นเครื่องมือในการแสดงความคิดเห็นและรู้สึก
ความสำคัญภาษา  คือ  เป็นเครื่องมือในการติดต่อสื่อสาร  เป็นเครื่องมือในการเรียนรู้  เป็นเครื่องมือในการเสริมสร้างความเข้าใจ เป็นเครื่องมือช่วยจรรโลงใจ
ทักษะภาษา  ประกอบด้วย การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
พัฒนาการภาษาของเด็ก  เด็กจะค่อยๆสร้างความรู้และความเข้าใจเป็นลำดับขั้นครูหรือผู้สอนต้องเข้าใจและยอมรับหากพบว่าเด็กใช้ศัพท์หรือไวยากรณ์ไม่ถูกต้องควรมองว่าเป็นกระบวนการของเด็ก

วันศุกร์ที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2556

บันทึกอนุทินครั้งที่1

                                                                   บันทึกอนุทิน
                                   วิชา การจัดประสบการณ์ภาษาสำหรับเด็กปฐมวัย
                                          อาจารย์ผู้สอน   อาจารย์ ตฤณ   แจ่มถิ่น
                  วัน/เดือน/ปี  14 มิถนายน  2556      ครั้งที่  1 
          เวลาเข้าสอน  08.20 น.       เวลาเรียน 08.30  น. 
          เวลาเลิกเรียน  12.20น.



                 อาจารย์ สอนเรื่องบล็อก และให้ทำ   จับกลุ่มกันทำ My Map  เกี่ยวกับเด็กปฐมวัย
แลกเปลี่ยนความคิดใหม่ๆกับเพื่อนๆ